ฝ้าย


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ฝ้ายมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าGossypiumspp.อยู่ในตระกูลMalvaceae มีระบบรากแบบร่างแหมีรากแก้วและมีรากแขนงออกจากรากแก้วลำต้น ประกอบด้วยข้อและปล้อง สูงประมาณ 60 –160 ซม. เป็นพืชหลายฤดู แต่มักปลูกเป็นพืชฤดูเดียวใบ ออกตามข้อของลำต้น ใบมี 3 – 5 แฉก แผ่นใบบางและมีขนปกคลุม ก้านใบยาวเท่าๆกับความกว้างของใบดอก ออกในลักษณะสลับบนกิ่ง ดอกกว้างประมาณ 3 นิ้ว มีกลีบเลี้ยงค่อนข้างใหญ่ที่ฐานดอก 3 กลีบ ซึ่งห่อหุ้มดอกอ่อนเอาไว้ กลีบดอกฝ้ายมี 5 กลีบ อาจมีสีขาวหรือสีเหลือง และจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหลังจากดอกบานได้ประมาณ 2 – 3 วัน
ผลฝ้าย หรือที่เรียกว่าสมอฝ้าย ( boll ) มีลักษณะกลมรี ภายในแบ่งออกเป็น 3 – 5 ส่วน ยาวประมาณ4 –5 ซม. สมอฝ้ายจะปริออกเมื่อแก่ และดันเมล็ดซึ่งห่อหุ้มด้วยปุยเส้นใยยาว
( lint ) และเส้นใยสั้น ( fuzz fibers ) ออกมา
ฝ้ายมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าGossypiumspp.อยู่ในตระกูลMalvaceae มีระบบรากแบบร่างแหมีรากแก้วและมีรากแขนงออกจากรากแก้วลำต้น ประกอบด้วยข้อและปล้อง สูงประมาณ 60 –
ผลฝ้าย หรือที่เรียกว่าสมอฝ้าย ( boll ) มีลักษณะกลมรี ภายในแบ่งออกเป็น 3 – 5 ส่วน ยาวประมาณ4 –
( lint ) และเส้นใยสั้น ( fuzz fibers ) ออกมา
พันธุ์ส่งเสริม
พันธุ์ศรีสำโรง 60
ลักษณะประจำพันธุ์ มีทรงต้นโปร่งใบค่อนข้างใหญ่ และตรงแฉกของใบยกขึ้นเล็กน้อย คล้าย ๆ กับพันธุ์ฝ้ายศรีสำโรง 2 ดอกสีขาวนวล อับละอองเกสรตัวผู้สีขาวครีม สมอค่อนข้างกลมและโต น้ำหนักฝ้ายปุยทั้งเมล็ดต่อหนึ่งสมอประมาณ6.3 กรัม ปลายสมอแหลมคล้ายกับพันธุ์ศรีสำโรง 2 อายุ เก็บเกี่ยวประมาณ 110-160 วัน เป็นฝ้ายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงค่อนข้างสม่ำเสมอ น้ำหนัก 100 เมล็ดหนักประมาณ 11 กรัม มีความต้านทานต่อโรคใบหงิกผลผลิตปุยทั้งเมล็ดเฉลี่ย 329 – 360 กก.ต่อไร่ เปอร์เซ็นต์ปุย 39.6 % ความยาวเส้นใยประมาณ 28 มม. (1.14 นิ้ว ) ค่าความละเอียดอ่อนของเส้นใย (ไมโครแนร์) 4.2 ค่าความเหนียวของเส้นใย 20 กรัมต่อเท็กซ์ และความสม่ำเสมอของเส้นใย 47.5%
พันธุ์ศรีสำโรง 60
ลักษณะประจำพันธุ์ มีทรงต้นโปร่งใบค่อนข้างใหญ่ และตรงแฉกของใบยกขึ้นเล็กน้อย คล้าย ๆ กับพันธุ์ฝ้ายศรีสำโรง 2 ดอกสีขาวนวล อับละอองเกสรตัวผู้สีขาวครีม สมอค่อนข้างกลมและโต น้ำหนักฝ้ายปุยทั้งเมล็ดต่อหนึ่งสมอประมาณ
พันธุ์ศรีสำโรง 2
ลักษณะประจำพันธุ์ มีทรงต้นโปร่ง สูงประมาณ123 ซม. มีกิ่งกระโดง 0-4 กิ่ง กิ่งผลไม่ยาวมากและทำมุมแหลมกับลำต้น มีข้อของกิ่งผลถี่ ใบมีขนาดเล็ก กว้างประมาณ 4.5 นิ้ว ใบเป็นแฉก 3-5 แฉกและที่โคนของจักใบยกสูงขึ้นเห็นได้ชัด สมอมีขนาดใหญ่จึงทำให้การติดของสมอห่างดูไม่ดกมาก ดอกแรกบานอายุ 50 วัน อับเรณูมีสีขาวนวล หรือครีม อายุเมื่อเก็บเกี่ยวได้ 120-160 วัน น้ำหนักฝ้ายปุย ทั้งเมล็ดต่อหนึ่งสมอ ประมาณ 6.3 กรัม เมล็ดมีขนาดปานกลาง น้ำหนัก 100 เมล็ด ประมาณ 11.4 กรัม มีความต้านทานต่อโรคใบหงิกค่อนข้างสูง ผลผลิตปุยทั้งหมด 280-330 กก. ต่อไร่ มีเปอร์เซ็นต์หรือปุย38.2% เส้นใยยาวประมาณ 30 มม. (1.19 นิ้ว ) ค่าความเหนียวของเส้นใย 20.4 กรัมต่อเท็กซ์ และมีความสม่ำเสมอของเส้นใย 50.9% ค่าความละเอียดอ่อนของเส้นใย (ไมโครแนร์) 3.9
ลักษณะประจำพันธุ์ มีทรงต้นโปร่ง สูงประมาณ
พันธุ์นครสวรรค์ 1
ลักษณะประจำพันธุ์ มีลักษณะทรงต้นสูงโปร่ง รูปกรวยยาวคล้ายต้นสน กิ่งผลสั้น ทำให้สะดวกต่อการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้าย ความสูงเฉลี่ย140 ซม. กระโดงน้อย 0-3 กิ่งใบค่อนข้างเรียบและมีขนาดปานกลางกว้างประมาณ 4.5 นิ้ว ข้อของกิ่งผลถี่ ดอกแรกบานเมื่ออายุประมาณ 45 วัน อับเรณู มีสีขาวนวล อายุเก็บเกี่ยว 105-150 วัน สมอโตกว่าฝ้ายพันธุ์ศรีสำโรง 3 มีขนาดน้ำหนักฝ้ายปุยทั้งเมล็ดต่อหนึ่งสมอ 5.8 กรัม มีความต้านทานต่อโรคใบหงิกสูง และต้านทานต่อโรคแบคทีเรียลไบล์ ปานกลาง ผลผลิตปุยทั้งเมล็ด 300-360 กก./ไร่ เปอร์เซ็นต์ปุยประมาณ 39.5 % เส้นใยยาวประมาณ 28 มม.ความเหนียวของเส้นใยประมาณ 19 กรัมต่อแท็กซ์ ค่าความละเอียดอ่อนของเส้นใย (ไมโครแนร์) 4.8 และความสม่ำเสมอของเส้นใย 49.9%
ลักษณะประจำพันธุ์ มีลักษณะทรงต้นสูงโปร่ง รูปกรวยยาวคล้ายต้นสน กิ่งผลสั้น ทำให้สะดวกต่อการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้าย ความสูงเฉลี่ย
การปลูก
การเตรียมดิน
ควรทำการเตรียมดินก่อนถึงฤดูปลูกประมาณ 1 เดือน โดยการไถดะ 1 ครั้ง พลิกดินและตากไว้ปล่อยให้วัชพืชแห้งตาย นอกจากนี้ศัตรูพืชอื่น ๆ เช่น เชื้อโรค และแมลงศัตรูต่าง ๆ ก็จะถูกทำลายไปด้วย หลังจากนั้นประมาณ 2-3 สัปดาห์ จึงไถแปร ต่อมาก็ทำการพรวนดินให้มีขนาดละเอียดพอสมควรที่จะหยอดเมล็ดฝ้ายได้ระยะปลูก
ระยะระหว่างแถว125 ซม. ระหว่างหลุม 50 ซม. วิธีการปลูก
ควรปลูกฝ้ายเป็นแนว ขวางทิศทางลมโดยการหยอดเมล็ดเป็นหลุม ๆ ละ 5-7 เมล็ด กลบดินให้มิดเมล็ด การปลูกจะมี 2 วิธีคือ
1) การปลูกเมื่อดินมีความชื้นพอแล้ว วิธีนี้หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์แล้วจะกลบดินเพียงบาง ๆ ประมาณ2.5 ซม.
2) การปลูกเพื่อรอฝน เป็นการปลูกในขณะที่ดินยังแห้งและมีความชื้นไม่เพียงพอกับการงอก วิธีนี้จะต้องกลบดินให้หนาเมล็ดอยู่ลึกประมาณ5 ซม.
การเตรียมดิน
ควรทำการเตรียมดินก่อนถึงฤดูปลูกประมาณ 1 เดือน โดยการไถดะ 1 ครั้ง พลิกดินและตากไว้ปล่อยให้วัชพืชแห้งตาย นอกจากนี้ศัตรูพืชอื่น ๆ เช่น เชื้อโรค และแมลงศัตรูต่าง ๆ ก็จะถูกทำลายไปด้วย หลังจากนั้นประมาณ 2-3 สัปดาห์ จึงไถแปร ต่อมาก็ทำการพรวนดินให้มีขนาดละเอียดพอสมควรที่จะหยอดเมล็ดฝ้ายได้ระยะปลูก
ระยะระหว่างแถว
ควรปลูกฝ้ายเป็นแนว ขวางทิศทางลมโดยการหยอดเมล็ดเป็นหลุม ๆ ละ 5-7 เมล็ด กลบดินให้มิดเมล็ด การปลูกจะมี 2 วิธีคือ
1) การปลูกเมื่อดินมีความชื้นพอแล้ว วิธีนี้หลังจากหยอดเมล็ดพันธุ์แล้วจะกลบดินเพียงบาง ๆ ประมาณ
2) การปลูกเพื่อรอฝน เป็นการปลูกในขณะที่ดินยังแห้งและมีความชื้นไม่เพียงพอกับการงอก วิธีนี้จะต้องกลบดินให้หนาเมล็ดอยู่ลึกประมาณ
การดูแลรักษา
ระยะการเจริญเติบโตทางลำต้นและใบ
ฝ้ายเริ่มงอกหลังจากปลูกไปแล้ว 3-5 วัน และมีช่วงการเจริญเติบโตทางลำต้นและใบประมาณ 28 วัน เมื่อฝ้ายอายุได้ 15-20 วัน ควรทำการถอนแยกต้นฝ้ายครั้งแรก ให้เหลือ 2 ต้นต่อหลุม และทำการกำจัดวัชพืชด้วย ในระยะนี้เกษตรกรควรระมัดระวัง แมลงศัตรูฝ้ายประเภทปากดูด เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจั๊กจั่น เพลี้ยไฟ เข้าทำลาย หากพบว่ามีการระบาดของแมลงประเภทนี้ให้พ่นสารเคมี โอเมทโธเอท หรือโมโนโครโตฟอส อย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนโรคฝ้ายที่สำคัญในระยะนี้คือ โรคใบหงิก ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส โดยมีเพลี้ยอ่อนเป็นตัวนำเชื้อมาสู่ต้นฝ้าย ดังนี้หากกำจัดเพลี้ยอ่อนลงได้ ก็จะช่วยลดปริมาณการเป็นโรคใบหงิก ของฝ้ายได้ระยะติดปี้ (ดอกอ่อน)
ฝ้ายเริ่มมีดอกอ่อน หรือติดปี้เมื่ออายุ 28-30 วัน ระยะนี้เกษตรกรควรถอนแยกต้นฝ้ายให้เหลือต้นที่สมบูรณ์ เพียง 1 ต้น ต่อหลุมมีการกำจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ย พูนโคนต้นฝ้าย ปุ๋ยที่ใช้ควรเป็น
1. ปุ๋ยสูตร 20-20-0 อัตรา 30-40 กก./ไร่ ในพื้นที่ที่เป็นดินเหนียวสีดำ
2. ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 40-60 กก./ไร่ ในพื้นที่ที่เป็นดินเหนียวสีแดงระยะออกดอก
ฝ้ายออกดอกหรือดอกบานเมื่ออายุประมาณ 45-50 วัน ควรระมัดระวังการเข้าทำลายของหนอนเจาะสมอฝ้าย โดยหมั่นตรวจแปลงฝ้ายทุก 3-5 วัน ในพื้นที่ขนาด
ฝ้ายจะเริ่มติดสมอเมื่ออายุประมาณ 60-65 วัน ในระยะที่ฝ้ายติดสมอจนถึงช่วงก่อนสมอแก่ (100 วัน) เกษตรกรต้องดูแลรักษาฝ้ายเป็นพิเศษโดยเฉพาะการป้องกันกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้ายเช่นเดียวกับที่ปฏิบัติในระยะที่ฝ้ายออกดอกหากพบว่ามีแมลงปากดูดชนิดใดชนิดหนึ่งระบาดจำเป็นต้องใช้สารเคมีประเภทดูดซึม เช่น โมโนโครโตฟอสพ่นเสริมด้วย
การใส่ปุ๋ย
มักจะปฏิบัติไปพร้อมกับการพรวนดินพูนโคน จะใส่ปุ๋ยเมื่อฝ้ายอายุประมาณ 3-4 สัปดาห์ หลังงอก การให้ปุ๋ยฝ้าย 2 วิธี ดังนี้
1. การให้ทางดิน จะให้แบบโรยข้าง ๆ แถวฝ้าย อัตราปุ๋ยที่แนะนำคือ
- ในดินเหนียวสีดำ ควรใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต 30 กก./ไร่ หรือให้ปุ๋ยยูเรีย 13 กก./ไร่
- ใช้ดินเหนียวสีแดง ควรใช้ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 50 กก./ไร่
2. การให้ทางใบ จะผสมน้ำแล้วพ่นให้ทางใบฝ้าย มีปุ๋ยสูตรต่าง ๆ ในตลาดเกษตรกรนิยมใช้ปุ๋ยทางใบกับฝ้าย
มักจะปฏิบัติไปพร้อมกับการพรวนดินพูนโคน จะใส่ปุ๋ยเมื่อฝ้ายอายุประมาณ 3-4 สัปดาห์ หลังงอก การให้ปุ๋ยฝ้าย 2 วิธี ดังนี้
1. การให้ทางดิน จะให้แบบโรยข้าง ๆ แถวฝ้าย อัตราปุ๋ยที่แนะนำคือ
- ในดินเหนียวสีดำ ควรใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต 30 กก./ไร่ หรือให้ปุ๋ยยูเรีย 13 กก./ไร่
- ใช้ดินเหนียวสีแดง ควรใช้ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 50 กก./ไร่
2. การให้ทางใบ จะผสมน้ำแล้วพ่นให้ทางใบฝ้าย มีปุ๋ยสูตรต่าง ๆ ในตลาดเกษตรกรนิยมใช้ปุ๋ยทางใบกับฝ้าย
การเก็บเกี่ยว
โดยปกติแล้วจะสามารถเริ่มเก็บเกี่ยวฝ้ายได้เมื่ออายุ 120 วันหลังงอก และจะเก็บเกี่ยวไปเรื่อย ๆ ช่วงห่างกันประมาณ 10 วัน เก็บเกี่ยว 3-4 ครั้งก็จะแล้วเสร็จ การเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนสุดท้ายในไร่นาและเป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่ง การเก็บเกี่ยวที่ถูกต้องจะทำให้ผลผลิตมีคุณภาพและได้ราคาสูง การเก็บเกี่ยวผลผลิตฝ้ายมีหลักการดังนี้
1. เก็บปุยที่แก่และแตกบานเต็มที่ แต่ต้องไม่ทิ้งให้อยู่ในไร่นานเกินไปจะทำให้คุณภาพเส้นใยลดลง
2. เก็บปุยที่แห้งไม่เปียกฝน
3. ระวังความสะอาดของปุย ให้มีสิ่งเจือปน เช่น ใบแห้ง ดินทรายให้น้อยที่สุด
4. เก็บแยกเป็นรุ่น ๆ ควรแยกเป็นฝ้ายสมอล่าง , สมอกลาง และสมอปลาย เพราะมีคุณภาพเส้นใยต่างกันโดยเฉพาะสมอปลาย
5. เก็บแยกตามคุณภาพ ควรแยกฝ้ายเปียก ฝ้ายฟันม้าไว้ต่างหากจากฝ้ายคุณภาพดี การเก็บปะปนกันจะทำให้ถูกตีราคารับซื้อต่ำ
6. ใช้ถุงผ้าหรือกระสอบปอที่ทำจากเส้นใยธรรมชาติในการเก็บและบรรจุ อย่าใช้ถุงที่ทำจากพลาสติกจะทำให้เส้นใยพลาสติกปะปนไปในใยฝ้าย ซึ่งจะทำให้ผ้าผืนมีคุณภาพต่อเนื่องจากย้อมสีไม่ติด
7. ควรผึ่งฝ้ายไว้ในที่ร่มจะทำให้ได้เส้นใยที่มีคุณภาพดีกว่าตากแดด
โดยปกติแล้วจะสามารถเริ่มเก็บเกี่ยวฝ้ายได้เมื่ออายุ 120 วันหลังงอก และจะเก็บเกี่ยวไปเรื่อย ๆ ช่วงห่างกันประมาณ 10 วัน เก็บเกี่ยว 3-4 ครั้งก็จะแล้วเสร็จ การเก็บเกี่ยวเป็นขั้นตอนสุดท้ายในไร่นาและเป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่ง การเก็บเกี่ยวที่ถูกต้องจะทำให้ผลผลิตมีคุณภาพและได้ราคาสูง การเก็บเกี่ยวผลผลิตฝ้ายมีหลักการดังนี้
1. เก็บปุยที่แก่และแตกบานเต็มที่ แต่ต้องไม่ทิ้งให้อยู่ในไร่นานเกินไปจะทำให้คุณภาพเส้นใยลดลง
2. เก็บปุยที่แห้งไม่เปียกฝน
3. ระวังความสะอาดของปุย ให้มีสิ่งเจือปน เช่น ใบแห้ง ดินทรายให้น้อยที่สุด
4. เก็บแยกเป็นรุ่น ๆ ควรแยกเป็นฝ้ายสมอล่าง , สมอกลาง และสมอปลาย เพราะมีคุณภาพเส้นใยต่างกันโดยเฉพาะสมอปลาย
5. เก็บแยกตามคุณภาพ ควรแยกฝ้ายเปียก ฝ้ายฟันม้าไว้ต่างหากจากฝ้ายคุณภาพดี การเก็บปะปนกันจะทำให้ถูกตีราคารับซื้อต่ำ
6. ใช้ถุงผ้าหรือกระสอบปอที่ทำจากเส้นใยธรรมชาติในการเก็บและบรรจุ อย่าใช้ถุงที่ทำจากพลาสติกจะทำให้เส้นใยพลาสติกปะปนไปในใยฝ้าย ซึ่งจะทำให้ผ้าผืนมีคุณภาพต่อเนื่องจากย้อมสีไม่ติด
7. ควรผึ่งฝ้ายไว้ในที่ร่มจะทำให้ได้เส้นใยที่มีคุณภาพดีกว่าตากแดด
โรคและแมลง
โรคใบไหม้
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดแผลบนใบมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลจะขยายไปในบริเวณเส้นใบ มีลักษณะเป็นเหลี่ยม สีแผลจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ระยะนี้เรียกว่า โรคจุดเหลี่ยม บางครั้งเชื้อแบคทีเรียเข้าทำลายไปตามเส้นใบ แล้วขยายเป็นแผลกว้างติดต่อไปถึงก้านใบและเข้าสู่ลำต้น ระยะนี้เรียกว่า โรคก้านดำ ส่วนอาการที่เกิดบนสมอ แผลจะช้ำหรือฉ่ำน้ำขยายกว้างไม่มีขอบเขต ตรงกลางแผลบุ๋มมีสีน้ำตาลดำ ทำให้สมอเน่า ระยะนี้เรียกว่าโรคสมอเน่า ต้นฝ้ายที่เป็นโรคนี้จะเจริญเติบโตช้า ถ้าเป็นในระยะสมอจะทำให้ผลผลิตลดลงการป้องกันกำจัด
1. ใช้เมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ หรือนำเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่เป็นโรคมาปลูก
2. หากใช้น้ำชลประทาน ไม่ควรให้น้ำในลักษณะฝนเทียมหรือสปริงเกิล เพราะจะทำให้เชื้อโรคกระจายไปทั้งแปลง ควรให้น้ำแบบปล่อยตามร่อง
3. ใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น พันธุ์ศรีสำโรง 3, ศรีสำโรง 60, นครสวรรค์ 1
โรคใบไหม้
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดแผลบนใบมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลจะขยายไปในบริเวณเส้นใบ มีลักษณะเป็นเหลี่ยม สีแผลจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ระยะนี้เรียกว่า โรคจุดเหลี่ยม บางครั้งเชื้อแบคทีเรียเข้าทำลายไปตามเส้นใบ แล้วขยายเป็นแผลกว้างติดต่อไปถึงก้านใบและเข้าสู่ลำต้น ระยะนี้เรียกว่า โรคก้านดำ ส่วนอาการที่เกิดบนสมอ แผลจะช้ำหรือฉ่ำน้ำขยายกว้างไม่มีขอบเขต ตรงกลางแผลบุ๋มมีสีน้ำตาลดำ ทำให้สมอเน่า ระยะนี้เรียกว่าโรคสมอเน่า ต้นฝ้ายที่เป็นโรคนี้จะเจริญเติบโตช้า ถ้าเป็นในระยะสมอจะทำให้ผลผลิตลดลงการป้องกันกำจัด
1. ใช้เมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ หรือนำเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่เป็นโรคมาปลูก
2. หากใช้น้ำชลประทาน ไม่ควรให้น้ำในลักษณะฝนเทียมหรือสปริงเกิล เพราะจะทำให้เชื้อโรคกระจายไปทั้งแปลง ควรให้น้ำแบบปล่อยตามร่อง
3. ใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น พันธุ์ศรีสำโรง 3, ศรีสำโรง 60, นครสวรรค์ 1
โรคใบหงิก
เกิดจากเชื้อไวรัส โดยมีเพลี้ยอ่อนฝ้ายเป็นพาหะ โรคใบหงิก เป็นโรคที่ทำความเสียหายร้ายแรงที่สุด จะเป็นกับฝ้ายตั้งแต่ยังเป็นต้นอ่อนอยู่ ทำให้ต้นฝ้ายมีขนาดเล็กเส้นของใบอ่อน มักจะมีสีเขียวอ่อนกว่าปกติ ใบหงิกม้วนงอ แต่ถ้าเป็นโรคในระยะที่ฝ้ายอายุมาก จะแสดงอาการที่ยอด ส่วนใบล่างยังคงเป็นปกติ เมื่อบีบใบที่เป็นโรคจะเปราะกรอบ หากฝ้ายมีอายุไม่เกิน 50 วัน เป็นโรคใบหงิกจะทำให้ผลผลิต ลดลงกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ การป้องกันกำจัด
1. หมั่นตรวจทำลายวัชพืชในแปลงฝ้ายที่เป็นแหล่งอาศัยของเชื้อไวรัส เช่น ต้นไม้กวาด ต้นสาบแร้งสาบกา
2. หยอดก้นหลุมด้วยสารฆ่าแมลงประเภทดูดซึม เช่น คาร์โบฟูราน 3% G อัตรา 0.5-1 กรัมต่อหลุมหรือฉีดพ่นด้วยโอเมทโธเอท 80% SL ตั้งแต่ฝ้ายเริ่มงอกเพื่อกำจัดเพลี้ยอ่อนที่เป็นพาหะของโรค
3. ใช้พันธุ์ที่ค่อนข้างจะต้านทานโรค เช่น พันธุ์ศรีสำโรง 2, ศรีสำโรง 3
4. เมื่อพบฝ้ายที่เป็นโรคให้รีบถอนทำลายทันที
เกิดจากเชื้อไวรัส โดยมีเพลี้ยอ่อนฝ้ายเป็นพาหะ โรคใบหงิก เป็นโรคที่ทำความเสียหายร้ายแรงที่สุด จะเป็นกับฝ้ายตั้งแต่ยังเป็นต้นอ่อนอยู่ ทำให้ต้นฝ้ายมีขนาดเล็กเส้นของใบอ่อน มักจะมีสีเขียวอ่อนกว่าปกติ ใบหงิกม้วนงอ แต่ถ้าเป็นโรคในระยะที่ฝ้ายอายุมาก จะแสดงอาการที่ยอด ส่วนใบล่างยังคงเป็นปกติ เมื่อบีบใบที่เป็นโรคจะเปราะกรอบ หากฝ้ายมีอายุไม่เกิน 50 วัน เป็นโรคใบหงิกจะทำให้ผลผลิต ลดลงกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ การป้องกันกำจัด
1. หมั่นตรวจทำลายวัชพืชในแปลงฝ้ายที่เป็นแหล่งอาศัยของเชื้อไวรัส เช่น ต้นไม้กวาด ต้นสาบแร้งสาบกา
2. หยอดก้นหลุมด้วยสารฆ่าแมลงประเภทดูดซึม เช่น คาร์โบฟูราน 3% G อัตรา 0.5-1 กรัมต่อหลุมหรือฉีดพ่นด้วยโอเมทโธเอท 80% SL ตั้งแต่ฝ้ายเริ่มงอกเพื่อกำจัดเพลี้ยอ่อนที่เป็นพาหะของโรค
3. ใช้พันธุ์ที่ค่อนข้างจะต้านทานโรค เช่น พันธุ์ศรีสำโรง 2, ศรีสำโรง 3
4. เมื่อพบฝ้ายที่เป็นโรคให้รีบถอนทำลายทันที
โรคใบจุดวง
เกิดจากเชื้อรา โดยเกิดเป็นจุดสีน้ำตาลอ่อนแล้วค่อยขยายเป็นวงกว้าง อาจมีลักษณะกลมหรือรีคล้ายเป้ากระสุน หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อรา จะทำให้แผลบนใบมีอาการไหม้ โดยเฉพาะใบอ่อนหรือยอดจะเห็นได้ชัด
โรคใบจุดวงจะระบาดมากในแหล่งปลูกฝ้ายบนเนินเขา หรือตามไหล่เขาที่มีอากาศค่อนข้างเย็น ฝนตกชุกอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ การป้องกันกำจัด
1. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมีเบนโนมิล 50 % อัตรา 5 – 10 กรัม/เมล็ดฝ้าย1 กิโลกรัม
2. หลังจากเก็บเกี่ยวฝ้ายแล้ว ให้ถอนต้นที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ไม่ปลูกพืชหมุนเวียนที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อรานี้ เช่น งา ถั่วฝักยาว กะหล่ำปลี มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง มะเขือเทศ
4. หมั่นตรวจแปลงฝ้าย ถ้าพบโรคระบาดให้ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัด เช่น เบนโนมิล 50% WPอัตรา 6-10 กรัม/น้ำ20 ลิตร ทุก 2 สัปดาห์ควรพ่นสลับกับแมนเนป 80% WP อัตรา 40 กรัม/น้ำ 20ลิตร
เกิดจากเชื้อรา โดยเกิดเป็นจุดสีน้ำตาลอ่อนแล้วค่อยขยายเป็นวงกว้าง อาจมีลักษณะกลมหรือรีคล้ายเป้ากระสุน หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญของเชื้อรา จะทำให้แผลบนใบมีอาการไหม้ โดยเฉพาะใบอ่อนหรือยอดจะเห็นได้ชัด
โรคใบจุดวงจะระบาดมากในแหล่งปลูกฝ้ายบนเนินเขา หรือตามไหล่เขาที่มีอากาศค่อนข้างเย็น ฝนตกชุกอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ การป้องกันกำจัด
1. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมีเบนโนมิล 50 % อัตรา 5 – 10 กรัม/เมล็ดฝ้าย
2. หลังจากเก็บเกี่ยวฝ้ายแล้ว ให้ถอนต้นที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ไม่ปลูกพืชหมุนเวียนที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อรานี้ เช่น งา ถั่วฝักยาว กะหล่ำปลี มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง มะเขือเทศ
4. หมั่นตรวจแปลงฝ้าย ถ้าพบโรคระบาดให้ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัด เช่น เบนโนมิล 50% WPอัตรา 6-10 กรัม/น้ำ
โรคใบจุดสีน้ำตาล
โรคนี้มักระบาดในระยะที่ต้นฝ้ายอายุมาก สมอเริ่มจะแก่ เพราะในระยะนี้ต้นฝ้ายมีการเปลี่ยนแปลง ในทางที่จะทำให้ต้นฝ้ายอ่อนแอ จึงง่ายต่อการเข้าทำลายของเชื้อรา ผลผลิตอาจเสียหายน้อย แต่ถ้าโรคนี้ระบาดมากในระยะฝ้ายกำลังติดสมอ อาจทำให้ผลผลิตหรือคุณภาพของ เส้นใยฝ้ายลดลง การป้องกันกำจัด
1. หากโรคนี้ระบาดในระยะที่ต้นฝ้ายอายุมากไม่แนะนำให้ทำการป้องกันกำจัด
2. หากพบว่าโรคนี้ระบาดในระยะกำลังติดสมอให้ทำการป้องกันกำจัดเช่นเดียวกับโรค ใบจุดวง
โรคนี้มักระบาดในระยะที่ต้นฝ้ายอายุมาก สมอเริ่มจะแก่ เพราะในระยะนี้ต้นฝ้ายมีการเปลี่ยนแปลง ในทางที่จะทำให้ต้นฝ้ายอ่อนแอ จึงง่ายต่อการเข้าทำลายของเชื้อรา ผลผลิตอาจเสียหายน้อย แต่ถ้าโรคนี้ระบาดมากในระยะฝ้ายกำลังติดสมอ อาจทำให้ผลผลิตหรือคุณภาพของ เส้นใยฝ้ายลดลง การป้องกันกำจัด
1. หากโรคนี้ระบาดในระยะที่ต้นฝ้ายอายุมากไม่แนะนำให้ทำการป้องกันกำจัด
2. หากพบว่าโรคนี้ระบาดในระยะกำลังติดสมอให้ทำการป้องกันกำจัดเช่นเดียวกับโรค ใบจุดวง
โรคใบเหี่ยว
สาเหตุเกิดจากเชื้อรามักเกิดกับฝ้ายที่มีอายุตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป ถ้าโรคนี้เกิดกับต้นฝ้ายที่มีอายุ 4-6สัปดาห์จะทำให้ใบร่วงแล้วแห้งตายหรืออาจจะแคระแกร็น แต่หากเกิดกับต้นฝ้ายอายุมากจะพบว่าใบเริ่มเหลืองเป็นแห่ง ๆ อยู่ในระหว่างเส้นใบแล้วค่อย ๆ ขยายบริเวณออกไปตรงกลางแผลจะแห้งทำให้เกิดเป็นดวง ๆ บนใบ ใบร่วง ต้นฝ้ายที่เป็นโรคนี้จะยืนต้นเหลือแต่ใบอ่อนที่ยอด
ปัจจุบันโรคเหี่ยวจะมีระบาดในบางท้องที่ ป้องกันและกำจัดได้ยากมาก เพราะเป็นเชื้อที่มีอยู่ในดิน จะระบาดเป็นหย่อม ๆ ในเนื้อที่ประมาณ 10-20 ตารางเมตร การป้องกันกำจัด
1. ปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีที่ใช้กับโรคนี้ได้
2. หลีกเลี่ยงการปลูกฝ้ายในแหล่งที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน
3. ปลูกพืชหมุนเวียนในแหล่งที่มีการระบาดของโรครุนแรง เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง
4. ทำลายต้นฝ้ายที่เป็นโรค โดยการถอนแล้วเผาไฟ ไม่ควรทิ้งไว้ในแปลงฝ้าย เพราะจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อราที่จะระบาดในฤดูต่อไป
สาเหตุเกิดจากเชื้อรามักเกิดกับฝ้ายที่มีอายุตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป ถ้าโรคนี้เกิดกับต้นฝ้ายที่มีอายุ 4-6สัปดาห์จะทำให้ใบร่วงแล้วแห้งตายหรืออาจจะแคระแกร็น แต่หากเกิดกับต้นฝ้ายอายุมากจะพบว่าใบเริ่มเหลืองเป็นแห่ง ๆ อยู่ในระหว่างเส้นใบแล้วค่อย ๆ ขยายบริเวณออกไปตรงกลางแผลจะแห้งทำให้เกิดเป็นดวง ๆ บนใบ ใบร่วง ต้นฝ้ายที่เป็นโรคนี้จะยืนต้นเหลือแต่ใบอ่อนที่ยอด
ปัจจุบันโรคเหี่ยวจะมีระบาดในบางท้องที่ ป้องกันและกำจัดได้ยากมาก เพราะเป็นเชื้อที่มีอยู่ในดิน จะระบาดเป็นหย่อม ๆ ในเนื้อที่ประมาณ 10-
1. ปัจจุบันยังไม่มีสารเคมีที่ใช้กับโรคนี้ได้
2. หลีกเลี่ยงการปลูกฝ้ายในแหล่งที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน
3. ปลูกพืชหมุนเวียนในแหล่งที่มีการระบาดของโรครุนแรง เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง
4. ทำลายต้นฝ้ายที่เป็นโรค โดยการถอนแล้วเผาไฟ ไม่ควรทิ้งไว้ในแปลงฝ้าย เพราะจะเป็นแหล่งสะสมของเชื้อราที่จะระบาดในฤดูต่อไป
การใช้ประโยชน์
1) ปุยฝ้าย (Lint or fibre)
1.1) ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม
1.2) เครื่องใช้ภายในบ้าน
1.3) วัตถุทางอุตสาหกรรม ยางรถยนต์ เบาะที่นั่ง เชือก ถุง สายพาน ผ้าใบ ท่อส่งน้ำ และการผลิตเส้นใยเทียม หรือ เรยอง (rayon) 2) เมล็ดฝ้าย ซึ่งประกอบด้วย ขนปุยที่ติดกับเมล็ด ( linter or fuzz) เปลือกเมล็ด (Seed coat) และเนื้อในเมล็ด (Kernel) ส่วนประกอบแต่ละอย่างของเมล็ดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 2.1) ขนปุย ( linter or fuzz) : นำไปใช้ทำผ้าซึมซับ ทำเบาะผ้าสักหลาด พรม วัตถุระเบิด และอุตสาหกรรม เซลลูโลส เช่น ทำเส้นใยประดิษฐ์ ฟิล์มเอ๊กซเรย์ พลาสติก2.2) เปลือกเมล็ด (Seed Coat) : นำไปใช้ทำเป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ ทำปุ๋ย อินทรีย์ ใช้ในด้านอุตสาหกรรมพลาสติก ทำยางเทียม และเป็นส่วนประกอบในการเจาะและกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิง2.3) เนื้อในเมล็ด (Kernel) :เป็นส่วนสำคัญของเมล็ดฝ้ายที่ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยนำไปสกัดเอาน้ำมัน (oil) ซึ่งใช้เป็นน้ำมัน ประกอบอาหารชนิดดีใช้ทำเนยเทียม ใช้เป็นตัวทำละลาย (Solvent or emulsifier) ในโรงงาน อุตสาหกรรม ทำยารักษาโรค สารปราบโรคและแมลงศัตรูพืช เครื่องสำอาง ยางพลาสติก เครื่องหนังกระดาษและอุตสาหกรรมสิ่งทอ กากที่เหลือหลังจากสกัดเอาน้ำมันออกแล้ว มีปริมาณโปรตีนสูง นำไปทำเป็นอาหารสัตว์ เป็นปุ๋ย และมีการนำไปทำอาหารมนุษย์ เช่น ผสมทำขนมปัง ผสมอาหารพวกที่มีเนื้อ เช่น ทำไส้กรอก
1) ปุยฝ้าย (Lint or fibre)
1.1) ใช้ทำเครื่องนุ่งห่ม
1.2) เครื่องใช้ภายในบ้าน
1.3) วัตถุทางอุตสาหกรรม ยางรถยนต์ เบาะที่นั่ง เชือก ถุง สายพาน ผ้าใบ ท่อส่งน้ำ และการผลิตเส้นใยเทียม หรือ เรยอง (rayon) 2) เมล็ดฝ้าย ซึ่งประกอบด้วย ขนปุยที่ติดกับเมล็ด ( linter or fuzz) เปลือกเมล็ด (Seed coat) และเนื้อในเมล็ด (Kernel) ส่วนประกอบแต่ละอย่างของเมล็ดสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 2.1) ขนปุย ( linter or fuzz) : นำไปใช้ทำผ้าซึมซับ ทำเบาะผ้าสักหลาด พรม วัตถุระเบิด และอุตสาหกรรม เซลลูโลส เช่น ทำเส้นใยประดิษฐ์ ฟิล์มเอ๊กซเรย์ พลาสติก2.2) เปลือกเมล็ด (Seed Coat) : นำไปใช้ทำเป็นส่วนประกอบของอาหารสัตว์ ทำปุ๋ย อินทรีย์ ใช้ในด้านอุตสาหกรรมพลาสติก ทำยางเทียม และเป็นส่วนประกอบในการเจาะและกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิง2.3) เนื้อในเมล็ด (Kernel) :เป็นส่วนสำคัญของเมล็ดฝ้ายที่ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ โดยนำไปสกัดเอาน้ำมัน (oil) ซึ่งใช้เป็นน้ำมัน ประกอบอาหารชนิดดีใช้ทำเนยเทียม ใช้เป็นตัวทำละลาย (Solvent or emulsifier) ในโรงงาน อุตสาหกรรม ทำยารักษาโรค สารปราบโรคและแมลงศัตรูพืช เครื่องสำอาง ยางพลาสติก เครื่องหนังกระดาษและอุตสาหกรรมสิ่งทอ กากที่เหลือหลังจากสกัดเอาน้ำมันออกแล้ว มีปริมาณโปรตีนสูง นำไปทำเป็นอาหารสัตว์ เป็นปุ๋ย และมีการนำไปทำอาหารมนุษย์ เช่น ผสมทำขนมปัง ผสมอาหารพวกที่มีเนื้อ เช่น ทำไส้กรอก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น